หมวดสินค้าหลัก

คู่มือสอบ กฎหมายปกครอง (อ.สุริยา ปานแป้น)

ผู้เข้าชม 10,784 ครั้ง
  • รหัสสินค้า : WC204
  • ราคาพิเศษ : 313 บาท
  • ราคาปกติ 330 บาท ลด 5 %
  • Share รายการสินค้านี้
คู่มือสอบกฎหมายปกครอง
 
จำนวน   420 หน้า
รูปแบบ  หนังสือขนาดมารตฐาน เข้าเล่มสันกาว
 
โดย.. สุริยา ปานแป้น, อนุวัฒน์ บุญนันท์
 
พิมพ์ครั้งที่ 9 เดือน กันยายน 2559
คู่มือสอบกฎหมายปกครองเล่มนี้ เหมาะสำหรับอ่านเพื่อ เตรียมตัวสอบเนติบัณฑิต อัยการผู้ช่วย ตุลาการศาลปกครอง พนักงานคดีปกครอง และนิติกรของรัฐ เนื้อหาประกอบด้วย หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง, กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง, กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่, กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ, กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง, เขตอำนาจของศาลปกครอง, เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง, ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายปกครองแต่ละฉบับและตัวอย่างข้อสอบ พร้อมธงคำตอบ
 
สารบัญ
 
ส่วนที่  1  กฎหมายปกครองภาคทั่วไป
บทที่  1  หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง
1. ความหมายของกฎหมายปกครอง
2. ฝ่ายปกครอง
2.1 การจัดองค์การของฝ่ายปกครอง
2.2 ความหมายของฝ่ายปกครอง
2.3 ประเภทของฝ่ายปกครอง
3. การกระทำทางปกครอง
3.1 ความหมายของการกระทำทางปกครอง
3.2 ความแตกต่างระหว่างการกระทำทางปกครองกับการกระทำทางรัฐบาล
3.3 ประเภทของการกระทำทางปกครอง
4. หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
4.1 สาระสำคัญของหลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
4.2 การตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
5. การควบคุมฝ่ายปกครอง
5.1 การควบคุมโดยองค์กรภายในฝ่ายปกครอง
5.2 การควบคุมโดยองค์กรภายนอกฝ่ายปกครอง
บทที่  2  กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
1. ความเป็นมาของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
2. ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
3. ข้อยกเว้นการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
4. ความหมายและองค์ประกอบของคำสั่งทางปกครอง
5. ตัวการในการพิจารณาทางปกครอง
5.1 เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจพิจารณาทางปกครอง
5.2 คู่กรณีในการพิจารณาทางปกครอง
6. สิทธิของคู่กรณีในการพิจารณาทางปกครอง
7. รูปแบบและผลของคำสั่งทางปกครอง
7.1 รูปแบบของคำสั่งทางปกครอง
7.2 ข้อกำหนดประกอบในคำสั่งทางปกครอง
7.3 ผลของคำสั่งทางปกครอง
7.4 การแก้ไขเยียวยาความบกพร่องของคำสั่งทางปกครอง
8. การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
9. การเพิกถอนและยกเลิกคำสั่งทางปกครอง
10. การขอให้พิจารณาใหม่
11. การบังคับทางปกครองสั่งซื้อได้ที่ www.attorney285.com
บทที่  3  กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
1. ความเป็นมาของกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
2. สภาพปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาของระบบความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
3. ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
4. องค์ประกอบของการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่
5. เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
5.1 เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่
5.1.1 ลักษณะของการกระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่
5.1.2 ผู้ต้องหารับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
5.1.3 วิธีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
5.1.4 การไล่เบี้ยระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเจ้าหน้าที่
5.2 เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดในทางส่วนตัว
5.2.1 ลักษณะของการกระทำละเมิดในทางส่วนตัว
5.2.2 ผู้ต้องหารับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
5.2.3 วิธีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
6. เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
6.1  เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่
6.1.1 ลักษณะของการกระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่
6.1.2 ขอบเขตความรับผิดของเจ้าหน้าที่
6.1.3 วิธีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
6.2 เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดในทางส่วนตัว
6.2.1 ลักษณะของการกระทำละเมิดในทางส่วนตัว
6.2.2 ขอบเขตความรับผิดของเจ้าหน้าที่
6.2.3 วิธีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
บทที่  4  กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
1. ความเป็นมาของกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
2. ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
3. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ต้องเปิดเผย
3.1 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา
3.2 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้
3.3 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ต้องจัดหาให้เมื่อประชาชนมีคำขอ
3.4 เอกสารประวัติศาสตร์
4. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ไม่ต้องเปิดเผย
4.1 ประเภทของข้อมูลข่าวสารของราชการที่ไม่ต้องเปิดเผย
4.2 การคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
4.3 สิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
4.4 การคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
5. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
5.1 ความหมายของข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
5.2 บุคคลผู้ได้รับความคุ้มครองเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
5.3 หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐในการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
5.4 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
5.5 การขอแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
6. คณะกรรมการตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ส่วนที่  2  กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
บทที่  5  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาลปกครอง
1. ความเป็นมาของการจัดตั้งศาลปกครอง
2. ธรรมนูญศาลปกครอง
2.1 อำนาจหน้าที่ของศาลปกครอง
2.2 โครงสร้างของศาลปกครอง
2.3 ตุลาการศาลปกครอง
2.4 คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง
2.5 สำนักงานศาลปกครอง
3. วิธีพิจารณาคดีปกครอง
3.1 วิธีพิจารณาระบบไต่สวน
3.2 วิธีพิจารณาเรียบง่าย
3.3 วิธีพิจารณาที่ใช้เอกสารเป็นหลัก
3.4 วิธีพิจารณาที่มีการถ่วงดุลอำนาจของตุลาการ
4. กระบวนการพิจารณาในศาลปกครอง
บทที่  6  เขตอำนาจของศาลปกครอง
 ตอนที่  1  คดีที่อยู่ในเขตอำนาจของศาลปกครอง
1. ข้อความเบื้องต้น
2. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับลักษณะของคู่กรณี
2.1 หน่วยงานทางปกครอง
2.2 เจ้าหน้าที่ของรัฐ
3. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับลักษณะของข้อพิพาท
3.1 คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
กระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
3.2 คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ละเลยต่อหน้าที่ตามกฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่
ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร
3.3 คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่น
ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
3.4 คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง
3.5 คดีที่มีกฎหมายกำหนดให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่
ของรัฐฟ้องคดีต่อศาลเพื่อบังคับให้บุคคลต้องกระทำหรือละเว้น
กระทำอย่างหนึ่งอย่างใด
3.6 คดีพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่มีกฎหมายกำหนดให้อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครอง
 ตอนที่  2  คดีที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลปกครอง
1. ข้อความเบื้องต้น
2. คดีพิพาทที่ไม่ได้เกิดจากการใช้อำนาจปกครอง
2.1 การกระทำทางนิติบัญญัติ
2.2 การกระทำทางตุลากร
2.3 การกระทำทางรัฐบาล
2.4 การวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นการ
ใช้อำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญ
2.5 ข้อพิพาททางแพ่ง
2.6 ข้อพิพาททางอาญา
2.7 ข้อพิพาทอื่น ๆ ที่ไม่ได้เกิดจากการใช้อำนาจปกครอง
3. คดีพิพาทที่เกิดจากการใช้อำนาจปกครองแต่มีลักษณะพิเศษ
3.1 ข้อยกเว้นตามมาตรา  9  วรรคสอง  แห่ง  พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ
3.1.1 การดำเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร
3.1.2 การดำเนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมาย
ว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการ
3.1.3 คดีที่อยู่ในเขตอำนาจของศาลชำนัญพิเศษ
3.2 ข้อยกเว้นตามกฎหมายเฉพาะ
3.2.1 ข้อยกเว้นตามรัฐธรรมนูญ  พ.ศ. 2550
3.2.2 ข้อยกเว้นตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ
3.3 ข้อยกเว้นตามหลักกฎหมายทั่วไป
3.3.1 ข้อพิพาทเกี่ยวกับการดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
3.3.2 ข้อพิพาทเกี่ยวกับการดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
3.3.3 ข้อพิพาทเกี่ยวกับการดำเนินกิจการขององค์การทางศาสนา
3.3.4 ข้อพิพาทเกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน
บทที่  7  เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง
1. ข้อความเบื้องต้น
2. เงื่อนไขเกี่ยวกับศาลปกครองที่มีเขตอำนาจ
3. เงื่อนไขเกี่ยวกับผู้มีสิทธิฟ้องคดี
4. เงื่อนไขเกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหาย
5. เงื่อนไขเกี่ยวกับความสามารถของผู้ฟ้องคดี
6. เงื่อนไขเกี่ยวกับคำฟ้อง
7. เงื่อนไขเกี่ยวกับระยะเวลาการฟ้องคดี
8. เงื่อนไขเกี่ยวกับการชำระค่าธรรมเนียมศาล
9. เงื่อนไขเกี่ยวกับการฟ้องซ้อน  การฟ้องซ้ำ  และการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
ส่วนที่  3  ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายปกครองแต่ละฉบับและตัวอย่างข้อสอบ
บทที่  8  ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายปกครองแต่ละฉบับ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครองกับกฎหมายปกครองอื่น
2. ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
กับกฎหมายปกครองอื่น
3. ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
กับกฎหมายปกครองอื่น
บทที่  9  ตัวอย่างข้อสอบกฎหมายปกครองพร้อมธงคำตอบ
1. หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง
2. กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
3. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
4. กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
บรรณานุกรม

 
 
จัดทำโดย.. สุริยา ปานแป้น, อนุวัฒน์ บุญนันท์

» หนังสืออื่นๆ ในหมวด กฏหมายปกครอง

Close หน้าต่างนี้
Go Top