หมวดสินค้าหลัก

LAW COACH ติวให้เต็ม วิ.อาญา มาตราสำคัญ (คณะวิชาการ)

ผู้เข้าชม 226 ครั้ง
  • รหัสสินค้า : TJG046
  • ราคาพิเศษ : 171 บาท
  • ราคาปกติ 180 บาท ลด 5%
  • Share รายการสินค้านี้
LAW COACH ติวให้เต็ม วิ.อาญา มาตราสำคัญ
∞ จำนวน : 286 หน้า
∞ ผู้เขียน : คณะวิชาการ The Justice Group
∞ ขนาด : 14.8 x 21 ซม.
∞ ISBN : 978-616-26055-2-9
 
คำนำ
           กฎหมาย วิ.อาญา เป็นหนึ่งในกฎหมายเบื้องต้นและสำคัญสำหรับผู้ที่เริ่ม
ศึกษาวิชากฎหมายในทุกระดับ ทั้งนักเรียนมัธยม นักศึกษาระดับปริญญาตรีและ
เนติบัณฑิต รวมถึงผู้ที่ทำงานด้านกฎหมายในองค์กรต่างๆ 
หนังสือ "Law coach ติวให้เต็ม [วิอาญา] มาตราสำคัญ" เล่มนี้ คณะวิชาการ
The Justice Group ได้รวบรวมเนื้อหาของหลักกฎหมาย "วิ.อาญา" คัดมาตราที่สำคัญ
พร้อมฎีกาน่าสนใจ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาวิชา กฎหมาย "วิ.อาญา' เบื้องต้น
อีกทั้งยังมีภาพประกอบและตารางสรุป ที่ช่วยให้ จดจำและเข้าใจง่ายขึ้นอีกด้วย
เหมาะสำหรับการทบทวนก่อนสอบ เนื่องจากเนื้อหา กระชับ ครอบคลุม และเข้าใจง่าย
           ทางสำนักพิมพ์หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้
ผู้อ่านได้เรียนรู้เนื้อหาวิชากฎหมาย "วิอาญา" และทบทวนความรู้ได้อย่างแม่นยำ
ในเวลา อันรวดเร็ว และสร้างความมั่นใจในการสอบได้มากยิ่งขึ้น
 
สารบัญ
มาตรา 2 : หลักทั่วไป
มาตรา 2(4) : ผู้เสียหาย
มาตรา 2(7) : คำร้องทุกข์
มาตรา 3 : อำนาจจัดการแทน
มาตรา 4 : ในคดีอาญาซึ่งผู้เสียหายเป็นหญิงมีสาม
                 หญิงนั้นมีสิทธิฟ้องคดีได้เองโดยมิต้องได้รับอนุญาตของสามีก่อน
มาตรา 5 : ผู้มีอำนาจจัดการแทน
มาตรา 6 : อำนาจจัดการแทนคนไร้ความสามารถ
มาตรา 7/1 : สิทธิของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหา
มาตรา 18 : เขตอำนาจสอบสวน
มาตรา 19 : ท้องที่สอบสวนกรณีความผิดหลายท้องที่เกี่ยวพันกัน
มาตรา 22 : เขตอำนาจศาล
มาตรา 23 : การโอนคดี
มาตรา 24 : เขตอำนาจศาลในความผิดหลายเรื่องเกี่ยวพันกัน
มาตรา 29 : การดำเนินคดีต่างผู้ตาย
มาตรา 31 : พนักงานอัยการขอเข้าร่วมเป็นโจทก์
มาตรา 35 : การถอนฟ้อง
มาตรา 36 : ผลของการถอนฟ้อง
มาตรา 37 : คดีอาญาเลิกกัน
มาตรา 39 : สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ
มาตรา 4 3 : การเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหาย
มาตรา 44/1 : แบบคำร้องขอให้จำเลยชดใช้ค่าสินไหม
มาตรา 51 : อายุความฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
มาตรา 80 : ความผิดซึ่งหน้า
มาตรา 90 : การขอปล่อยตัวผู้ถูกคุมขังโดยมิชอบ
มาตรา 92 : การค้นในที่รโหฐาน
มาตรา 120 : สอบสวน
มาตรา 121 : พนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนคดีอาญาทั้งปวง
มาตรา 133 ทวิ : การสอบสวนปกคำเด็กในฐนะผู้เสียหายหรือพยาน
มาตรา 133 ตรี : การชี้ตัวบุคคล
มาตรา 13 4 : อำนาจพนักงานสอบสวนในการสอบสวนผู้ต้องหา
มาตรา 134/1 : สิทธิของผู้เสียหาย
มาตรา 134/2 : การสอบสวนผู้ต้องหาอายุไม่เกิน 18 ปี
มาตรา 134/4 : สิทธิของผู้ต้องหา
มาตรา 140 : การดำเนินการหลังการสอบสวนเสร็จ
มาตรา 141 : กรณีรู้ตัวผู้กระทำผิด แต่จับตัวไม่ได้
มาตรา 142 : กรณีรู้ตัวผู้กระทำผิดและจับตัวผู้กระทำผิดได้
มาตรา 14 3 : การดำเนินการของพนักงานอัยการ
                      หลังรับสำนวนจากพนักงานสอบสวน
มาตรา 145 : คำสั่งไม่ฟ้อง
มาตรา 145/1 : กรณีที่มีคำสั่งไม่ฟ้องสำนวนสอบสวนของเจ้าพนักงานตำรวจ 
มาตรา 147 : คำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี
มาตรา 161 : การตรวจคำฟ้องของศาล
มาตรา 161/1 : ตรวจคำฟ้องคดีราษฎรเป็นโจทก์
มาตรา 162 : การไต่สวนมูลฟ้อง
มาตรา 163 : การยื่นคำร้องขอแก้ไขฟ้องและแก้ไขเพิ่มเติมคำให้การ
มาตรา 16 4 : การพิจารณาคำร้องขอเพิ่มเติมคำฟ้องหรือแก้ไขคำให้การ
มาตรา 165 : วิธีการไต่สวนมูลฟ้อง
มาตรา 166 : โจทก็ขาดนัด
มาตรา 167 : ผลของการไก่สวนมูลฟ้อง
มาตรา 170 : คำสั่งคดีมีมูลย่อมเด็ดขาด
มาตรา 172 : การสิบพยาน
มาตรา 172 ทวิ.- 172 ทวิ/2 : การสืบพยานลับหลังจำเลย
มาตรา 173 : การตั้งทนายความให้จำเลย
มาตรา 185 : เหตุยกฟ้อง
มาตรา 192 : ห้ามพิพากษาเกินคำขอหรือมิได้กล่าวในฟ้อง
มาตรา 193 ทวิ : ข้อจำกัดในการอุทธรณ์
มาตรา 202 : การถอนอุทธรณ์
มาตรา 212 : ห้ามพิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลย
มาตรา 213 : เหตุลักษณะคดี
มาตรา 218 : ห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
มาตรา 219 : ข้อจำกัดสิทธิฎีกา
มาตรา 220 : ห้ามฎีกาในคดีที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ยกฟ้องโจทก์
มาตรา 226 - 226/5 : พยานหลักฐานในคดีอาญา
มาตรา 227/1 : การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
คณะวิชาการ

» หนังสืออื่นๆ ในหมวด กฏหมาย วิ.อาญา

Close หน้าต่างนี้
Go Top